ข้อกำหนดของกรมการขนส่งทางบกในการติดตั้ง GPS
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดคุณลักษณะของเครื่องบันทึกข้อมูลการเดินทาง (GPS) และ กำหนดประเภทและลักษณะของรถที่ใช้ในการขนส่งที่ต้องติดตั้งเครื่องบันทึกข้อมูลการเดินทางของรถ (GPS)
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดคุณลักษณะของเครื่องบันทึกข้อมูลการเดินทาง (GPS) และ กำหนดประเภทและลักษณะของรถที่ใช้ในการขนส่งที่ต้องติดตั้งเครื่องบันทึกข้อมูลการเดินทางของรถ (GPS)
รถโดยสารสาธารณะและรถขนส่งทุกคันต้องติด GPS ตามมาตรฐานกรมการขนส่ง และเชื่อมโยงข้อมูลเข้ากับศูนย์บริการเดินรถของกรมการขนส่ง ภายในปี 2559 โดยระบบติดตามรถ (GPS Tracking) จะต้องเป็นอุปกรณ์ได้คุณภาพมาตรฐานกรมการขนส่ง
DTC ดำเนินธุรกิจด้าน GPS Tracking ครบวงจร เจ้าแรกในไทย และยังคงเป็นอันดับ 1 ตลอดระยะเวลา 20 ปี ที่ผ่านมา
DTC มีผู้ใช้งานกว่า 10,000 หน่วยงานทั้งใน และนอกประเทศ
AEC หรือ Asian Economics Community คือการรวมตัวของชาติในอาเซียน 10 ประเทศ เพื่อที่จะให้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกันและจะมีรูปแบบคล้ายๆกลุ่มยูโรโซนนั้นเอง
M2M หรือ Machine to Machine ก็คือเทคโนโลยีที่ทำให้อุปกรณ์ต่างๆ สามารถส่งข้อมูลระหว่างกันเองได้ กลไกการทำงานของ M2M นั้นเริ่มจากเครื่องที่มีตัววัด Sensor
อุปกรณ์ GPS คือ อุปกรณ์ที่ใช้สําหรับบันทึกและส่งข้อมูลการใช้งานของรถ ด้วยระบบการกําหนดตําแหน่งบนแผนที่โลก (Global Positioning System) โดยในปัจจุบันได้มีการนำอุปกรณ์ GPS มาประยุกต์ใช้ในงานด้านการขนส่ง (Fleet Management) อย่างแพร่หลาย ด้วยปัจจัยต่างๆ
ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่องานขนส่งมากขึ้น เช่น การนำระบบจีพีเอสติดตามรถ (GPS Tracking) มาใช้ซึ่งช่วยให้ผู้ประกอบการด้านการขนส่ง สามารถติดตามดูตำแหน่งของรถขนส่งตลอดจนทราบพฤติกรรมของพนักงานขับรถแบบ real time ผ่าน Application หรือ Web Application
ในยุคที่องค์กรที่ดำเนินงานด้านการขนส่งเข้าร่วมวงแข่งขันกันทางธุรกิจเพื่อเป้าหมายในการยึดหัวหาดในสายธุรกิจของตนเอง สิ่งหนึ่งที่เข้ามาช่วยสร้างจุดแข็งให้แก่องค์กรนั้นๆ อย่างไม่อาจปฏิเสธได้ คือ การนำโลจิสติกส์ เข้ามาเพิ่มคุณค่าในการบริการให้แก่ลูกค้า ซึ่งการจัดการโลจิสติกส์อย่างมีประสิทธิภาพนับเป็นกุญแจสำคัญของความสำเร็จทางธุรกิจ